Quantum Computing
หน้าแรก Quantum Computing
Google เปิดตัวชิปควอนตัม “Willow” ก้าวข้ามขีดจำกัดของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
Google ระบุว่า Willow ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพโดยใช้มาตรฐาน random circuit sampling (RCS) โดย Willow สามารถดำเนินการคำนวณที่ใช้เวลาน้อยกว่า 5 นาที ขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในปัจจุบันจะใช้เวลาถึง 10 เซปทิลเลียนปี หรือ 10,000,000,000,000,000,000,000,000 ปี
เอาแล้ว! นักวิจัยชาวจีนสามารถเจาะระบบการเข้ารหัส RSA และ AES ได้สำเร็จเป็นครั้งแรกในโลก
นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนเผยว่า คอมพิวเตอร์ควอนตัมของ D-Wave สามารถเจาะระบบการเข้ารหัส RSA ได้สำเร็จ สะท้อนถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาโซลูชันการเข้ารหัสใหม่เพื่อรับมือกับภัยคุกคามจากเทคโนโลยีควอนตัม
IBM เปิดศูนย์ข้อมูลควอนตัมแห่งแรกในยุโรป ที่ประเทศเยอรมัน
IBM ได้ขยายกลุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ควอนตัมเข้าไปสู่ใน Ehningen ประเทศเยอรมนีเมื่อวันอังคาร (1 ตุลาคม ที่ผ่านมา) โดยมีพิธีตัดริบบิ้นที่ร่วมด้วยนายกรัฐมนตรีเยอรมัน Olaf Sholz และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลยุโรป
IBM watsonx เพิ่มประสิทธิภาพ ในการประยุกต์ ใช้ Generative AI ได้อย่างยอดเยี่ยม
IBM watsonx™ ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มข้อมูลแบบ AI โดยถูกออกแบบมาช่วยจัดการกับความท้าทายในประเด็นต่างๆ ทั้งเรื่องของการขาดทักษะในการใช้งาน การเข้าถึงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เป็นไปในรูปแบบธรรมาภิบาลมากขึ้น
UltraRAM หน่วยความจำแบบใหม่ที่เร็วกว่า RAM 4,000 เท่า เก็บข้อมูลได้นานกว่า 1,000 ปี
จุดเด่นของ UltraRAM คือสามารถเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง ทางผู้พัฒนาอ้างว่า UltraRAM มีความทนทานมากกว่า NAND Flash อย่างน้อย 4,000 เท่า และสามารถเก็บข้อมูลได้นานกว่า 1,000 ปี
IBM และ AIST ตั้งเป้าพัฒนาคอมพิวเตอร์ควอนตัม 10,000 คิวบิต ภายในปี 2029
บริษัท IBM และสถาบันวิจัยชั้นนำของญี่ปุ่น "สถาบันเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์อุตสาหกรรมขั้นสูงแห่งชาติ (AIST)" ได้มีการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยร่วมกัน เพื่อผลักดันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ควอนตัมให้ใช้งานในภาคอุตสาหกรรม
IBM ผนึก Riken ติดตั้งระบบควอนตัมในศูนย์ประมวลผลด้านวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น
IBM ร่วมกับห้องปฏิบัติการวิจัยแห่งชาติ Riken ของญี่ปุ่น ประกาศแผนติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ควอนตัม IBM System Two ภายในศูนย์ Riken Center for Computational Science เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
Intel ได้สร้างระบบคอมพิวเตอร์ Neuromorphic computing ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ระบบนี้มีรหัสว่า Hala Point เป็นระบบที่ได้รับแรงบันดาลใจจากโครงสร้างของสมองมนุษย์ โดยใช้ชิประมวลผล Loihi 2 จำนวน 1,152 ตัว บรรจุอยู่ในตู้ขนาดเท่ากับเตาไมโครเวฟ เพื่อใช้ในดาต้าเซ็นเตอร์
IBM เตรียมเปิดดาต้าเซ็นเตอร์แบบควอนตัมแห่งแรกในยุโรป
IBM เปิดตัวแผนสร้างดาต้าเซ็นเตอร์แบบควอนตัม สำหรับบริการคลาวด์แห่งแรกในยุโรป โดยคาดว่าจะตั้งที่ศูนย์ IBM ในเมือง Ehningen ประเทศเยอรมนี น่าจะได้ใช้งานจริงประมาณปีหน้าในฐานะดาต้าเซ็นเตอร์ที่โฮสต์คลาวด์ควอนตัมในรีเจี้ยนยุโรป
10 อันดับซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลก ส่วน Frontier ยังรั้งตำแหน่งอันดับหนึ่งในโลก
สามครั้งซ้อนแล้วที่ Frontier ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ในกลุ่มซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ทำงานเร็วที่สุด และยังเป็นเครื่องเดียวในโลกที่ความเร็วพุ่งเกิน 1 exaFLOP โดยสามารถคำนวณคำตอบในรูปเลขทศนิยม (Floating Point) ได้มากถึง 1.194 ล้านล้านล้าน (Quintillion) ครั้งต่อวินาที